- พระอาจารย์ สวัสดิ์ ภูมิสาโร
- หลวงปู่คำบุ คุตฺตจิตฺโต
- หลวงปู่หมุน ฐิตสีโล
- หลวงปู่เกลี้ยง เตชธมฺโม
- หลวงปู่เจียม อติสโย
- อาจารย์อุ้ย เก้ายอด
- หลวงปู่เขียน ปุญฺญกาโม
- ครูบาวะสิน เขมวโร(พระครูเกษมธรรมสิริ)
- ขุนแผนหงส์ร่อนมังกรรำ
- หลวงปู่คำบุ ปสนฺโน วัดบ้านดอนดู่
- หลวงปู่มหาคำแดง ฐานทัตโต
- นางพรายอรดี
- หลวงปู่เมียน กัลยาโณ
- กามเทพนางหลง
- หลวงปู่เฉลิม ผละปญฺโญ
พระอาจารย์
เข้าสู่ระบบ
PRO
Stats
![]() |
|
ออนไลน์: ![]() |
1 |
วันนี้: ![]() |
22 |
เมื่อวานนี้: ![]() |
48 |
สัปดาห์นี้: ![]() |
141 |
เดือนนี้: ![]() |
1211 |
ปีนี้: ![]() |
1211 |
รวม: ![]() |
1416 |
Power by mPlus |
อุบลราชธานี พระเครื่อง ราคาพระเครื่อง บริการพระเครื่องของศิริมงคล
จังหวัดอุบลราชธานี พระเครื่อง ราคาพระเครื่อง พระเครื่องภาคใต้ตลาด พระเครื่อง วงการพระเครื่องขึ้น เปิดราคาพระเครื่อง บริการพระเครื่องของศิริมงคลอาจารย์อุ้ย เก้ายอด











ภาพอาจารย์อุ้ยเป็นผู้ช่วย พ่อครูโหรยูร ศิษย์ครูเทพ ในงานไหว้ครูพระอาจารย์สวัสดิ์ ภูมิสาโร รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี เป็นประธาน
ลายสักยันต์ต่างๆของสำนักสักยันต์เก้ายอด
ยันต์ต่างๆของสำนักสักยันต์เก้ายอด มีดังนี้
- ยันต์เก้ายอดสิบหกพระองค์(ยันต์ครู) – ยันต์เก้ายอดพญาไก่เถื่อน - ยันต์เก้ายอดพญากาน้ำ
- ยันต์เก้ายอดพญากาสัก – ยันต์เก้ายอดรอดมัจจุราช – ยันต์เก้ายอดนวหรคุณ
- ยันต์เก้ายอดแม่ทัพ – ยันต์เกาะเพชร – ยันต์ข่ายเพชร
- ยันต์มงกุฏพระพุทธเจ้า – ยันต์จักรพรรดิน้อย – ยันต์มหาจักรพรรดิตราธิราช
- ยันต์จตุโรบังเกิดทรัพย์ – ยันต์ทศชาติเงินไม่ขาดมือ – ยันต์ตรีนิสิงเห
- ยันต์มหาราช -ยันต์ไตรสรคมณ์ – ยันต์กันสะกด
- ยันต์นะโมตาบอด – ยันต์เพชรหลีก – ยันต์เพชรกลับ
- ยันต์อิติปิโส 8 ทิศ – ยันต์สี่เกลอ – ยันต์พระควปติ
- ยันต์พระพิฆเณศ – ยันต์พระพรหม – ยันต์พระนารายณ์ทรงครุฑ
- ยันต์พญาครุฑ – ยันต์พญานาค – ยันต์พญาลิงลม
- ยันต์พญาพาลี – ยันต์พญาสุครีพ -ยันต์พญานิลพัตร
- ยันต์พญาหนุมานแผลงฤทธิ์ – ยันต์หนุมานคลุกฝุ่น – ยันต์หนุมานนำทัพ
- ยันต์หนุมานทัพหน้า – ยันต์หนุมานร่ายเวทย์ – ยันต์หนุมานเชิญธง
- ยันต์หนุมานแวกบาดาล -ยันต์หนุมานโทน – ยันต์หนุมานชมพูนุช
- ยันต์พญามัจจฉานุ – ยันต์บรมครูปู่ฤาษี – ยันต์จิ้งจกปี้
- ยันต์จิ้งจกเทวดา – ยันต์จิ้งจกเก้าหาง – ยันต์จิ้งจกคาบธง
- ยันต์จิ้งจกสองหาง – ยันตะกร้อ – ยันต์เทาะว์รันโต
- ยันต์ดอกบัวทศชาติ – ยันต์นะมหาสำเร็จ(สายเขาอ้อ) – ยันต์กั้งบัง(มหากระดอน)
- ยันต์พระเจ้าห้าพระองค์ – ยันต์โสฬสมงคล – ยันต์ห้าแถวธรรมราชา
- ยันต์พระพุทเจ้าห้ามอาวุธ – ยันต์พิชัยสงคราม – ยันต์ชัยยะสงคราม
- ยันต์มหาปัทมึน – ยันต์แม่ทัพ – ยันต์พระเจ้านอมอ
- ยันต์รัตนะปทุม – ยันต์รัตนจักร – ยันต์กันภัย
- ยันต์กำแพงแก้ว – ยันต์จตุธรรมราชา -ยันต์กระบองไขว้
- ยันต์พุทธชัยยะ – ยันต์ตาข่ายธาตุ – ยันต์พิรอดแขน
- ยันต์มหาอำนาจ – ยันต์สมปรารถนา – ยันต์สุกิตติมา
- ยันต์ปิโย – ยันต์พระกาฬผันจักร – ยันต์พญาไก้แก้ว
- ยันต์พญาหงส์คู่ – ยันต์ยันต์สุริยประภา(ราหูอมมพระอาทิตย์)
- ยันต์จันทรประภา(ราหูอมพระจันทร์) – ยันต์พญาราชสีห์ – ยันต์พญาเสือเผ่น
- ยันต์พญาเสือคู่ – ยันต์พญาเสือหางด้วน – ยันต์พญาเสือคอขาด
- ยันต์พญาเสือเหลียวหลัง – ยันต์กวางเหลียวหลัง – ยันต์พญาชาละวัน
- ยันต์พญามังกร – ยันต์พญากิเลน – ยันต์ปลาใหลเผือก
- ยันต์ปลาใหลเผือกคู่ - ยันต์ขุนแผนแสนนางล้อม – ยันต์หมัดธนู
- ยันต์จักรนารายณ์ – ยันต์สากเหล็ก – ยันต์อิ้นมหาเสน่ห์
- ยันต์นายขนมต้ม – ยันต์พญาเต่าเรือน – ยันต์ชูชก
- ยันต์พญาปลัดขิก – ยันต์พญาหมูคาบดาบ – ยันต์พญาเขาคำมหาเสน่ห์
- ยันต์ม้าเสพนาง – ยันต์ขุนแผนแสนเสน่ห์ – ยันต์พญานกถึกถือ
- ยันต์พญานกคุ้ม -ยันต์พญานกยูงทอง – ยันต์สาลิกาลิ้นทอง
- ยันต์สาลิกาป้อนเหยื่อ(สาลิกาคู่) – ยันต์พระเจ้าเปล่งรัศมี – ยันต์เงาะถอดรูป
เหรียญมหาพุทธบารมีเก้ายอด รุ่นแรก สำนักสักยันต์เก้ายอด
2.หลวงปู่อ่อง ฐิตธมฺโม วัดสิงหาญ จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 7 วาระ
3.พระครูเกษมธรรมมานุวัตร วัดเกษมสำราญ จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 6 วาระ
4.หลวงปู่เร็ว ฉนฺทโก วัดบ้านหนองโน จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 5 วาระ
5.หลวงปู่เก่ง ธนวโร วัดบ้านนาแก จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 8 วาระ (มรณภาพแล้ว)
6.หลวงปู่เขียน ปุญฺญกาโม ที่พักสงฆ์ป่าช้าบ้านโพนสิม จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 21 วาระ
7.หลวงปู่คล้าย อธิเตโช วัดบ้านกระเดียน จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 4 วาระ
8.หลวงปู่เกลี้ยง เตชธมฺโม วัดบ้านโนนแกด จ.ศรีสะเกษ ปลุกเสก 3 วาระ
9.หลวงปู่จอม นาคเสโน วัดบ้านดอนดู่ จ.อำนาจเจริญ ปลุกเสก 2 วาระ
10.หลวงปู่มหาคำแดง ฐานะทตฺโต วัดคัมภีราวาส จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 4 วาระ (มรณภาพแล้ว)
11.หลวงพ่อสุพัฒน์ เตชะพะโล วัดป่าประชานิมิต จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 5 วาระ
12.หลวงพ่อทองวัน จนฺทโภ วัดบ้านปากโดม จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 2 วาระ
13.หลวงปู่หงษ์ พรหมปญฺโญ สุสานทุ่งมน จ.สุรินทร์ ปลุกเสก 4 วาระ (มรณภาพแล้ว)
14.หลวงพ่อคีย์ กิติญาโณ วัดศรีลำยอง จ.สุรินทร์ ปลุกเสก 4 วาระ
15.หลวงปู่เพ็ง จนฺทรังสี วัดโพธิ์ศรีละทาย จ.ศรีสะเกษ ปลุกเสก 2 วาระ
16.หลวงปู่โชติ อาภคฺโค วัดภูเขาแก้ว จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 1 วาระ
17.หลวงปู่พา อธิวโร วัดบัวระรมย์ จ.ศรีสะเกษ ปลุกเสก 4 วาระ
18.พระครูมงคลสีลพิพัฒน์(บุญจันทร์) วัดบ้านหนองมะแซว จ.ศรีสะเกษ ปลุกเสก 2 วาระ
19.หลวงปู่โทน ขนฺติโก วัดบ้านพลับ จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 1 วาระ
20.หลวงปู่เรียบ สุเมโธ วัดบ้านโคกกลางแสนสุข จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 4 วาระ (มรณภาพแล้ว)
21.พระอาจารย์สวัสดิ์ ภูมิสาโร วัดป่าแสนอุดม จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 4 วาระ
22.หลวงปู่สิงห์ วัดบ้านขี้เหล็ก จ.ศรีสะเกษ ปลุกเสก 1 วาระ (มรณภาพแล้ว)
23.หลวงปู่สมศรี วัดถ้ำอนัตตา จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 1 วาระ (มรณภาพแล้ว)
24.หลวงปู่บุญ ขนฺตโร วัดแสงน้อย จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 2 วาระ (มรณภาพแล้ว)
25.หลวงปู่ผาด ฐิติปญฺโญ วัดบ้านกรวด จ.บุรีรัมย์ ปลุกเสก 2 วาระ (มรณภาพแล้ว)
26.หลวงพ่อเมียน กลฺยาโณ วัดจะเนียงวนาราม จ.บุรีรัมย์ ปลุกเสก 2 วาระ
27.หลวงพ่อเส็ง วิสุทฺธสีโล วัดปราสาทเยอร์ใต้ จ.ศรีสะเกษ ปลุกเสก 4 วาระ
28.หลวงพ่อสาย ปาโมกโข วัดตะเคียนราม จ.ศรีสะเกษ ปลุกเสก 4 วาระ
29.พระครูสุขวัฒนคุณ (หลวงพ่อสีลา) วัดบ้านโพนปลัด จ.ศรีสะเกษ ปลุกเสก 2 วาระ
30.หลวงพ่อเพียร วัดเหล่าโดน จ.ศรีสะเกษ ปลุกเสก 1 วาระ
31.หลวงปู่ข้าวแห้ง (บายกริม) วัดบ้านตาปัน จ.สุรินทร์ ปลุกเสก 1 วาระ
32.พระอาจารย์จ่อย สิริคุตฺโต วัดเวฬุวัน จ.ศรีสะเกษ ปลุกเสก 5 วาระ
33.พระครูสถิตธรรมวิมล (หลวงปู่คำดี) วัดบูรพาบ้านผึ้ง จ.ศรีสะเกษ ปลุกเสก 1 วาระ
34.พระครูสุวิมลภาวนาคุณ(หลวงพ่อจื่อ) วัดเขาตาเงาะอุดมพร จ.ชัยภูมิ ปลุกเสก 1 วาระ
35.หลวงปู่ถวิล ธมฺมิโก วัดพยุห์ จ.ศรีสะเกษ ปลุกเสก 4 วาระ
36.หลวงปู่ ดร.บุญมี กมโล วัดเขาธงทองศรีเขต จ.พิษณุโลก ปลุกเสก 2 วาระ
37.หลวงปู่หมี ปญฺญาธโร วัดหนองเม็กใหญ่ จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 2 วาระ
38.หลวงปู่คูณ ปริสุทโธ วัดบ้านไร่ จ.นครราชสีมา ปลุกเสก 1 วาระ(มรณภาพแล้ว)
39.หลวงพ่อคูณ วรปญฺโญ วัดบัลลังค์ จ.นครราชสีมา ปลุกเสก 2 วาระ
40.หลวงปู่องค์ลาย อภินนฺโท วัดป่าหนองออ จ.ศรีสะเกษ ปลุกเสก 3 วาระ
41.หลวงปู่พวง ธมฺมสาโร วัดป่าวิเวกสามัคคีธรรม จ.บุรีรัมย์ ปลุกเสก 1 วาระ
42.หลวงปู่แสน ปสนฺโน วัดหนองจิก จ.ศรีสะเกษ ปลุกเสก 1 วาระ
43.หลวงปู่ขุน อนุตตโร วัดใหม่ทองสว่าง จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 6 วาระ
44.หลวงปู่จันทร์หอม สุภาทโร วัดบุ่งขี้เหล็ก จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 1 วาระ
45.หลวงปู่แถว อาจาริโย วัดบ้านหนองถ่ม จ.ศรีสะเกษ ปลุกเสก 3 วาระ
46.หลวงปู่ทอง เหมวณฺโณ วัดศรีชมภู จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 1 วาระ
47.หลวงปู่พาลี วัดออกเมือง สปป.ลาว ปลุกเสก 1 วาระ
48.พระอาจารย์คำแพง วัดออกเมือง สปป.ลาว ปลุกเสก 1 วาระ
49.หลวงปู่มั่น ปุริทตฺโต วัดเทพประธานพร จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 2 วาระ
50.หลวงปู่ผา โกสโร วัดบ้านเดือยไก่ จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 5 วาระ
51.หลวงปู่สี สิริญาโณ วัดป่าศรีมงคล จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 1 วาระ
52.หลวงปู่สุข โกวิโท ศูนย์การเรียนรู้บ้านหนองเตา จ.ศรีสะเกษ ปลุกเสก 1 วาระ
53.หลวงปู่ฟู อติภทฺโท วัดบางสมัคร จ.ฉะเชิงเทรา ปลุกเสก 1 วาระ
54.หลวงปู่รวย ปาสาทิโก วัดตะโก จ.อยุธยา ปลุกเสก 1 วาระ
55.หลวงปู่เพิ่ม อตฺตทีโป วัดป้อมแก้ว จ.อยุธยา ปลุกเสก 1 วาระ
56.หลวงพ่อพูน ฐิตสีโล วัดบ้านแพน จ.อยุธยา ปลุกเสก 1 วาระ
57.เจ้าคุณธงชัย วัดไตรมิตร กทม. ปลุกเสก 1 วาระ
58.เจ้าคุณเที่ยง วัดระฆังโฆสิตาราม กทม. ปลุกเสก 1 วาระ
59.หลวงปู่เพี้ยน อคฺคธมฺโม วัดเกริ่นกฐิน จ.ลพบุรี ปลุกเสก 1 วาระ
60.หลวงปู่แขก ปภาโส วัดสุนทรประดิษฐิ์ จ.พิษณุโลก ปลุกเสก 1 วาระ
61.หลวงปู่ลออ ฐานวโร วัดหนองหลวง จ.นครสวรรค์ ปลุกเสก 1 วาระ
62.หลวงปู่หวั่น กุสลจิตฺโต วัดคลองคุณ จ.พิจิตร ปลุกเสก 1 วาระ
63.หลวงปู่สิริ สิริวฒฺโน วัดตาล จ.นนทบุรี ปลุกเสก 1 วาระ
64.หลวงพ่ออวยพร ฐิติญาโณ วัดดอนยายหอม จ.นครปฐม ปลุกเสก 1 วาระ
65.หลวงพ่อชำนาญ อุตฺตมปญฺโญ วัดบางกุฎีทอง จ.ปทุมธานี ปลุกเสก 1 วาระ
66.หลวงพ่อโนรี ปิยธมฺโม วัดหนองหญ้าปล้อง จ.กาญจนบุรี ปลุกเสก 1 วาระ
67.พระอาจารย์ติ๋ว ฐิตวฑฒฺโน วัดมณีชลขัณฑ์ จ.ลพบุรี ปลุกเสก 1 วาระ
68.ครูบาอริยชาติ อริยจิตฺโต วัดแสงแก้วโพธิญาณ จ.เชียงราย ปลุกเสก 1 วาระ
69.หลวงปู่ท่อน ญาณธโร วัดศรีอภัยวัน จ.เลย ปลุกเสก 1 วาระ
70.หลวงปู่ประสาร สุมโน วัดป่าหนองไคร้ จ.ยโสธร ปลุกเสก 1 วาระ
71.หลวงปู่สรวง สิริปุญฺโญ วัดศรีฐานใน จ.ยโสธร ปลุกเสก 1 วาระ
72.หลวงปู่จันทร์ ชุตินฺธโร วัดหนองบัว จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 1 วาระ
73.ครูบาสิน เขมวโร วัดศรีฐานนอก จ.ยโสธร ปลุกเสก 3 วาระ
เหรียญพระพรหมประธานพร รุ่นแรก สำนักสักยันต์เก้ายอด
พระพรหมมหาเทพแห่งความเมตตาและลิขิตชะตามนุษย์
กำเนิดพระพรหม“คัมภีร์มานวธรรมศาสตร์”กล่าวไว้ว่าครั้นเมื่อโลกยังไม่ปรากฏสิ่งใดๆ(มีความว่างเปล่า)พระพรหม(ผู้เกิดเอง)ประสงค์จะสร้างทุกสิ่งทุกอย่างบนโลก จากนั้นจึงสร้างน้ำขึ้นมาก่อนแล้วจึงนำพืชโปรยลงบนผืนน้ำพอเวลาผ่านไปพืชนั้นกลายเป็นไข่ทองคำและกำเนิดขึ้นมาเอง หลังจากนั้นพระพรหมจึงแบ่งร่างกายเป็นชาย-หญิงเพื่อสร้างโลกและมนุษย์ต่อมา….อีกตำนานหนึ่งใน“คัมภีร์มนัสนปุรณะ”เล่าว่าพระพรหมหลังกำเนิดขึ้นแล้วพระองค์แบ่งเป็น2ภาคซึ่งภาคหนึ่งเป็นชายคนแรกของโลกส่วนอีกภาคหนึ่งแบ่งเป็นหญิงคนแรกของโลกมีนามว่า “สรัสวดี” ต่อมาช่วยกันสร้างโลก มีเทวดา มนุษย์ อสูรและสรรพสัตว์สรรพพืชพันธุ์ในโลก….ตำนานพระเศียรของเทพเจ้าผู้สร้างโลกนามพระพรหม บางส่วนของตำนานกล่าวไว้ว่า เมื่อแรกพระพรหมทรงมี ๕ เศียร เรื่องมีอยู่ว่าพระองค์ทรงหลงรักและหวงแหนพระมเหสี เพื่อคุ้มครองพระมเหสีองค์นี้ด้วยว่าไม่ว่าจะเสด็จที่ใดก็ตาม พระองค์จะทรงใช้ตาที่เศียรทั้ง ๕ เศียรของ พระองค์เฝ้าติดตามไม่ว่าจะเกิดเหตุใดขึ้นก็ตามจะได้ช่วยทันทุกเวลาต่อมาเศียร ๑ ใน ๕ เศียรเกิดพูดจาดูหมิ่นพระมเหสีของพระศิวะเมื่อพระองค์ทราบเรื่องจึงบันดาลโทสะจนเกิดการต่อสู้กันระหว่างพระพรหมกับพระศิวะเมื่อเวลาต่อมาพระพรหมเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ถูกพระศิวะตัดเศียรไปหนึ่งเศียร จึงเป็นเหตุให้พระพรหม เหลือเพียง ๔ เศียร นับแต่นั้นเป็นต้น….ในอินเดียสมัยโบราณ พระพรหมเป็นเทพ(ผู้สร้างโลก) ได้รับการยกย่องโดยพวกพราหมณ์เชื่อว่า”พระพรหมเป็นฤๅษีองค์แรกของศาสนาพราหมณ์และเป็นมหาเทพที่มีบุญบารมีสูงส่งกว่าเทพและเทวดาทั่วไป พระพรหมจึงกลายเป็นเทพองค์สำคัญขึ้นมาใหม่โดยมีการสร้างเทวาลัยและรูปปั้นไว้เป็นจำนวนมากพระพรหมได้รับการนับถือบูชาในฐานะที่พระองค์เป็นผู้สร้างของทุกสิ่งทุกอย่างให้เกิดขึ้นบนโลกพระองค์ทรงเป็นผู้ให้ที่สำคัญและเป็นผู้กำหนดโชคชะตาของมนุษย์ พระพรหมเป็นเทพผู้สร้างโลกได้รับการยกย่องโดยพวกพราหมณ์ให้มีฐานะเท่าเทียมกับพระนารายณ์ (ผู้คุ้มครองโลก) และพระศิวะ (ผู้ทำลายโลก)
พระพรหมเริ่มแรกทรงเนรมิตมนุษย์มีขาข้างเดียว แต่ก็เห็นว่าเดินไม่สะดวก จึงสร้างมนุษย์มี ๓ ขา ดูเหมือนจะไม่พอพระทัยเพราะว่าเกะกะเกินไปไม่สวยงาม จึงทรงสร้างมนุษย์ขึ้นมาใหม่อีกครั้งให้มี ๒ ขา ที่ปรากฏจนทุกวันนี้….ท้าวมหาพรหมคือเทพเจ้า ผู้สร้าง ผู้ลิขิตความเป็นไปของทุกสรรพสิ่ง เป็นผู้กำเนิดชะตา ชีวิตของมนุษย์ทุกคน ที่เราๆท่านๆรู้จักกันใน “พรหมาลิขิต”พระพรหมจึงเป็นผู้รู้ความเคลื่อนไหว ความเป็นไปของสรรพสิ่ง พระพรหมคือ มหาเทพผู้ยิ่งใหญ่หนึ่งในสาม ท่านท้าวมหาพรหมทรงรับฟังคำอธิษฐานของผู้ศรัทราในองค์ท่านเสมอ ผู้บูชาพระพรหมและกระทำความดีอย่างสม่ำเสมอจะได้รับการบันดาลพรให้สมหวังในสิ่งที่ปรารถนา….ท้าวมหาพรหม เป็นเทพเจ้าแห่งการสร้างสรรค์ ทรงมีอิทธิฤทธิ์เทวานุภาพในการลิขิตดวงชะตาชีวิตมนุษย์และสรรพสัตว์ทั้งหลาย โดยควบคุมทุกอย่างให้เป็นไปตามเงื่อนไขของกฎแห่งกรรม ท้าวมหาพรหมจึงเป็นผู้คุ้มครองคนดี และลงโทษผู้กระทำบาป ผู้กระทำบาปจะถูกพระพรหมลิขิตให้ชีวิตมีแต่ความลำบากยากเข็ญ ผู้ที่มีจิตใจเอื้ออารีต่อผู้อื่น พระพรหมจะบันดาลให้ชีวิตมีแต่ความสุขและสมบูรณ์….ผู้ศรัทธาในพระพรหม เมื่อบูชาพระองค์แล้ว พระองค์จะประทานปัญญาในการประกอบอาชีพ ทำให้ธุรกิจ กิจการ งานทุกอย่างก็จะประสบความสำเร็จ พระองค์ยังทรงปกป้องให้ห่างจากศัตรูหมู่มาร อีกทั้งผู้มีศรัทธาในพระองค์จะเป็นที่รักแก่ เทวดา มนุษย์ และอมนุษย์ ทั้งมวล คิดสิ่งใดปารถนาสิ่งใดที่ตั้งมั่นอยู่ในความถูกต้อง ท้าวมหาพรหมจะประทานให้ผู้บูชาสมปรารถนาทุกประการ
慈祥与注定人类命运的四面佛大神
大梵天王(四面佛)的出身按”百道梵书”说“世界最初还没有任何东西《空虚的》然后大梵天王《创造之神》想创造万物,遂先创造水,使地球一片汪洋;然后将植物播于水中,但植物却长一只金蛋,其后金蛋破裂,大梵天王就从蛋中出生。后来大梵天王自分为两部分,一为男性、一为女性为了创作地球和人类,在另一传说……说大梵天王自分为两部分后,一为男性始祖、一为女性始祖名叫“帕沙叻沙哇哩”,合作后建造神仙、凡人、魔鬼以及各种树木…大梵天王面头的传说,有些传说部分讲,四面神本是五面。故事中说大梵天王非常爱他的王后,为了保护他的妻子不管去哪个地方都会用他的五面随着她,因出什么问题就可以立即帮助她。有一天他的五面之一藐视了湿婆神的王后,湿婆很生气就跟大梵天王打架,后来湿婆神打败了大梵天王,大梵天王就被湿婆神砍掉了他的一颗头只剩下四个头……在印度古代,大梵天王《创造之神》被婆罗门人称颂 “大梵天王是婆罗门教的隐士之一,还是比其他神的荣耀还高,他就成为最重要的大神,被人们造了好多塑像,也受到了人们的尊敬,来拜他。因他是创造地球万物者,更是注定人类的命运神。梵天创造者被婆罗门教称赞了把它放在跟那罗延那神《守护之神》,湿婆神《毁灭之神》一样的位置。
รายนามเกจิอาจารย์อธิษฐานจิตปลุกเสก
เหรียญพระพรหมประทานพร-ตะกรุดมหาพรหม-ตะกรุดมหารูด
ตะกรุดมหาจักรพรรดิตราธิราช-ผ้ายันต์มหาจักรพรรดิตราธิราช
(สร้างตามตำราวัดกษัตราธิราช เดินสูตรอิติปิโสรัตนมาลา)
***ถ้ากุลบุตรผู้ใดจะใคร่ปรารถนาลาภยศ ให้ลงมหายันต์นี้ใส่แผ่นหินก็ได้ แผ่นทองคำ แผ่นทองแดง แผ่นเงิน หรือแผ่นตะกั่วก็ได้ เอาแช่น้ำบูชาไว้ ยิ่งแช่ในขันสำริดยิ่งดีนัก เอาน้ำนั้นกินบ้าง ใส่ศีรษะบ้าง ลูบหน้าบ้าง บำบัดโรคภัยไข้เจ็บทั้งหลายและทั้งอายุก็ยืนยาว บังเกิดลาภยศตามแต่จะพึงปรารถนา อธิษฐานเอาเถิดจะ สำเร็จตามความปรารถนาทุกประการ
***ถ้าจะให้มีตบะเดชะให้เอาพระยันต์นี้ลงทำเป็นตะกรุดผูกเอวไว้ ให้รูดตะกรุดไว้ข้างหน้า ใครเห็นใครกลัว ใครเห็นใครรักแล ถ้าจะให้คนมาเกี่ยวข้าวในนาของเรา หรือจะทำการค้าขายให้ขายสินค้าได้คล่อง ๆ ให้เอามหายันต์นี้ลงใส่ผ้าขาว ทำเป็นธงปักไว้ ลมพัดไปทางไหน ผู้คนหลั่งไหลมาทางทิศนั้นแล หรือจะทำเป็นตะกรุดแช่น้ำมนต์ เอาน้ำมนต์ประพรมสินค้าก็ได้ ซื้อง่ายขายคล่อง แลถึงแม้ว่าผีเข้าอยู่ ให้เอาน้ำมนต์นี้ประพรม ผีก็หนีออกไปสิ้น
***ถ้าจะประจัญด้วยข้าศึก ให้ลงพระมหายันต์นี้ทำเป็นธงใส่ในผืนผ้าขาว แล้วอธิษฐานยกธงโบกขึ้นไปทางทิศไหน ข้าศึกแตกหนีไปทางนั้น ธงนี้เอาบูชาไว้กับบ้านเรือนใด กันเสนียดจัญไร กันฟ้าและกันไฟก็ได้แล
***ถ้าจะกันโจรผู้ร้ายมิให้ทำอันตรายแก่เราได้ ให้เอากรวดและทรายมา เอาน้ำมนต์ที่แช่ตะกรุดนั้นประพรมกรวดทรายเข้า แล้วเอากรวดทรายนั้นหว่านล้อมให้รอบบริเวณบ้านเรา อธิษฐานขอบารมีพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ จงมาช่วยคุ้มครองป้องกันอันตราย บรรดาคนที่คิดร้ายต่อเราเข้ามาเหยียบถูกกรวดถูกทรายที่เราหว่านโปรยไว้ จะต้องบังเกิดมีอันเป็นไปต่าง ๆ นานาแล “อุปเท่ห์มหายันต์นี้มีมากมายเหลือจะคณานับ ใช้ได้ทุกประการ”
“ผู้ใดมีบุญญาวาสนาถึงจะได้ครอบครอง”
***สมัยก่อนพระโบราณจารย์นิยมสร้างตะกรุดมหาจักรพรรดิตราธิราช เพื่อมอบประจำตัวผู้มี บุญหนัก ศักดิ์ใหญ่ เป็นของประจำกายพระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ ตลอดจนพระยา มหาเสนาและแม่ทัพนายกอง นอกจะบูชาเป็นการเสริมดวงชะตา วาสนา บารมีของเจ้าของตะกรุดแล้ว ก็มักใช้ติดตัวออกศึก ในยามสงคราม ถือกันว่าผู้ที่มีตะกรุดมหาจักรพรรดิตราธิราชติดตัวอยู่จะไม่ตายด้วยศาสตราวุธใดๆ ภัยอันตรายใดๆก็ไม่สามารถกล้ำกายได้เลย ประดุจมีกำแพงแก้ว 7 ชั้นคุ้มครองไว้
***การบูชาตะกรุดมหาจักรพรรดิตราธิราชเป็นไปเพื่อ คุ้มครองดวงชะตา และเสริมวาสนา บารมีเจ้าของตะกรุดเป็นหลัก เป็นของจริงที่ทำยาก เสกยาก เพราะต้องเชิญเทวดามาประจำตะกรุด คุ้มครองเจ้าของตะกรุด ตลอดจนวงศาคณาญาติไปตลอด การลงตะกรุดนั้นอาจารย์ผู้มีวิชา ก็จะต้องเลือกวันที่มีพิสถานเป็นมงคล ในมหาฤกษ์ มหาชัย ลงอักขระยันต์
***สำหรับตะกรุดมหาจักรพรรดิตราธิราชนี้ตามตำรากล่าวว่าใครมีตะกรุดมหาจักรพรรดิตราธิราชแล้ว จะได้เป็นใหญ่กว่าหมู่คณะ มีตบะ เดชะ และบารมีเพิ่มมากขึ้นทุกวัน จะมีคนคอยชูชุบอุปถัมภ์จนได้เป็นเจ้าพระยา มหาอำมาตย์ กอปรด้วยยศฐาบรรดาศักดิ์ และทรัพย์สิน เงินทอง ข้าทาส บริวาร พร้อมมูล ศัตรู หมู่อมิตรที่คิดร้ายจะพินาศสูญ พ้น อันตรายจากเทวดา มนุษย์ นาคและภูตผู้ร้าย ไปทางไหน ทิศไหนจะเป็นที่รักใคร่ นิยมของคนทางนั้น ทิศนั้น จะมีลาภ ผล และเกียรติยศเกรียงไกรไปทั่วทุกทิศ จะมีเทวดาพิทักษ์รักษา ค้ำคูณดวงชะตาผู้บูชา แต่ถ้านำไปวางที่หิ้งพระ โต๊ะหมู่บูชาพระ จะแผ่อำนาจคุ้มครองดวงชะตาคนทั้งบ้าน ให้เจริญ รุ่งเรือง
รายนามเกจิอาจารย์อธิษฐานจิตปลุกเสก
ตะกรุดมหาจักรพรรดิตราธิราช-ผ้ายันต์มหาจักรพรรดิตราธิราช
1.หลวงปู่อ่อง ฐิตธมฺโม วัดสิงหาญ อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 6 วาระ
2.หลวงปู่เร็ว ฉนฺทโก วัดบ้านหนองโน อ.ตาลสุม จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 5 วาระ
3.พระครูเกษมธรรมมานุวัตร วัดเกษมสำราญ อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 5 วาระ
4.หลวงปู่คำบุ คุตฺตจิตฺโต วัดกุดชมภู อ.พิบูลมังสาหาร จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 4 วาระ
5.หลวงปู่เก่ง ธนวโร วัดบ้านนาแก อ.พิบูลมังสารหาร จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 3 วาระ
6.หลวงปู่มหาคำแดง ฐานะทตฺโต วัดคัมภีราวาส อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 5 วาระ
7.หลวงปู่เขียน ปุญฺญกาโม ที่พักสงฆ์ป่าช้าบ้านโพนสิม อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 18 วาระ
8.หลวงปู่คล้าย อธิเตโช วัดบ้านกระเดียน อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 3 วาระ
9.หลวงปู่เรียบ สุเมโธ วัดบ้านโคกกลางแสนสุข อ.ตาลสุม จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 2 วาระ
10.หลวงพ่อสุพัฒน์ เตชะพะโล วัดป่าประชานิมิต อ.สำโรง จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 6 วาระ
11.หลวงปู่จอม นาคเสโน วัดบ้านดอนดู่ อ.เมือง จ.อำนาจเจริญ ปลุกเสก 1 วาระ
12.หลวงปู่โทน ขนฺติโก วัดบ้านพลับ อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี ปลุกเสก 1 วาระ
***และพ่อสุพรรณ (สหายธรรมหลวงปู่พรหมมา เขมจาโร) อ.ศรีเมืองใหม่ จ.อุบลราชธานี-พ่อพัน กงแก้ว (อดีตมือปราบจอมขมังเวทย์) อ.กันทรารมย์ จ.ศรีสะเกษ-อ.อุ้ย เก้ายอด เจ้าสำนักสักยันต์เก้ายอด จ.อุบลราชธานี อธิษฐานจิตปลุกเสก 1 ไตรมาส***
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
วัตถุมงคลต่างๆของสำนักสักยันต์เก้ายอด